�
��� คณะกรรมการบริหารการศึกษาต่อเนื่องวาระ พ.ศ.2549 2550ได้มีมติให้กำหนดประเภทกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องขึ้นใหม่ จากเดิม 32 ประเภทกิจกรรม� �เป็น 36 ประเภทกิจกรรม �และกำหนดให้บันทึกหน่วยกิต cme �ตามรอบเดือนเกิดของแพทย์ �รอบละ 5 ปี �
ซึ่งได้ผ่านความเห็นชอบจากที่ประชุมคณะกรรมการแพทยสภาแล้วสำหรับประเภทกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องที่เพิ่มขึ้นจากเดิม 4 ประเภท �ได้แก่ �
(24) การศึกษาด้วยตนเองเกี่ยวกับกรณีศึกษาผู้ป่วยตามที่ราชวิทยาลัยหรือ ศ.น.พ.ให้การรับรอง �
(34) การดูแลรักษาผู้ป่วยตามหน้าที่ปกติทางเวชกรรม
(35) การศึกษาต่อเนื่องเพื่อให้ได้มาซึ่งวุฒิบัตร หนังสืออนุมัติแพทย์เฉพาะทางรวมทั้งวุฒิบัตร หนังสืออนุมัติแพทย์เฉพาะทางสาขาต่อยอด ตลอดจนใบปริญญาและประกาศนียบัตรอื่น ๆ
(36) ประกาศนียบัตรแพทย์เพิ่มพูนทักษะ�
ซึ่งสามารถดูรายละเอียดของประเภทกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องทั้งหมดได้ที่
กลุ่มกิจกรรมที่ |
คุณลักษณะ |
ประเภทของกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่อง |
1 |
เป็นกิจกรรมที่เผยแพร่องค์ความรู้ใหม่ หรือ องค์ความรู้เดิม�� �(Body of �knowledge) ที่ได้ถูกทบทวน� ให้ทันยุคสมัยและจัดเป็นมาตรฐานที่ยอมรับในวงการวิชาชีพของสาขานั้น ๆ | (1)� การประชุมวิชาการ ( Academic meeting) (2)� อบรมฟื้นฟูวิชาการ �(Refresher course) หรือการอบรม ระยะสั้น (Short course training) (3)� อบรมเชิงปฎิบัติการ (Workshop training) (4)� การสัมมนาทางวิชาการ �(Seminar) (5)� การอภิปรายหมู่ (Panediscussion) (6)� ชุดบรรยายทางวิชาการ �(Lecture series) (7)� การบรรยายพิเศษ (Special �lecture) |
2 |
เป็นกิจกรรมกลุ่มที่มุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพ ด้านบริการรักษาทางการแพทย์ในโรงพยาบาล (Patient-based learning activity) | (8)� การทบทวนหัวข้อทางการแพทย์��� (Medical topic reviews) (9)� การประชุมวิชาการระหว่างโรงพยาบาล (Inter-hospital academic conference) (10) การประชุมวิชาการระหว่างภาควิชา(Inter-departmental academic conference) (11) การประชุมวิชาการของภาควิชา (Departmental conference) (12) การประชุมเพื่อศึกษาปัญหาทุพพลภาพและเสียชีวิต เนื่องจากการรักษา (Morbidity & mortality conference) (13) การเสนอผู้ป่วยน่าสนใจ �(Interesting case) (14) สโมสรวารสาร (Journal club) |
3 |
เป็นการพัฒนาความรู้ด้วยตนเองแบ่งออกเป็น | � |
3.1 |
เป็นทั้งกิจกรรมส่วนบุคคลที่พัฒนาคุณภาพ ในด้านการบริการ การสอนและงานวิจัย | (15) การตีพิมพ์บทความในวารสารการแพทย์ (Publication) ��� 15.1 วารสารนานาชาติ ������������ ( Index Medicus, Citation Index etc.) ��� 15.2 วารสารในประเทศ (16) การเสนอผลงานทางวิชาการ ������ (Scientific presentation) (17) การกลั่นกรองบทความโดยคณะบรรณาธิการ �������� (Editorial peer reviews) (18) การกลั่นกรองโครงร่างงานวิจัย โดยทีมงานวิจัย ������� (Proposal and ethical reviews) (19) การอ่านผลงานเพื่อประเมินตำแหน่งวิชาการ �������� (Peer review Reader) (20) การเป็นวิทยากร/ผู้อภิปรายร่วม ในกิจกรรมรหัสเลขที่ 1-13 (21) การออกแบบทดสอบ ������ �21.1 �การออกข้อสอบ�(Questions & Answers) ������� 21.2 �การสร้างสื่อพร้อมแบบทดสอบ(Internet CME, Computer-assisted instruction and other test producer) |
3.2 |
เป็นกิจกรรมส่วนบุคคลที่ศึกษาทั้งจากการเรียน รู้ด้วยตนเองและจากสื่อชุดมาตรฐานตามเกณฑ์ ของศูนย์การศึกษาต่อเนื่องของแพทย์ | (22) �การเรียนปฏิสัมพันธ์กับคอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์ CAI, Internet CME (23) �การประเมินและทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยสื่อสำเร็จ รูป �(Self-Assessment & Review) ได้แก่ เทปบันทึกเสียง,เทปบันทึกภาพ, แบบศึกษาต่อเนื่องทางไปรษณีย์ เป็นต้น (24) �การศึกษาด้วยตนเองเกี่ยวกับกรณีศึกษาผู้ป่วยตามที่ราช วิทยาลัยหรือ ศ.น.พ. ให้การรับรอง |
3.3 |
เป็นกิจกรรมที่พัฒนาวิชาชีพ อย่างต่อเนื่อง (continuing� professional� development) ต่าง ๆ กิจกรรมวิชาการอื่น ๆ ที่คณะกรรมการฯ เห็นสมควร | (25) �การสอนแสดงข้างเตียง (Bed-side teaching round, Unit round) (26) �Clinical practice guideline (27) �การปรึกษาหารือเกี่ยวกับผู้ป่วย(Clinical �consultation), และการติดตามผู้ป่วยที่ส่งต่อ (refer) เพื่อการรักษาต่อ Clinical practice guideline (28) �การถ่ายทอดความรู้ด้านการแพทย์และสาธารณสุข(Medical & public health education provider) (29) �การประชุมบริหารจัดการด้านการแพทย์และสาธารณสุข(Administrative meeting) �เช่น �การประชุมกรรมการ�แพทยสภา , แพทยสมาคม, ราชวิทยาลัยแพทย์ , และสมาคม� แพทย์ต่าง ๆ , สาธารณสุขจังหวัด , โรงพยาบาล เป็นต้น (30) �โครงการสำรวจผู้รับบริการ (Patient Surveys) (31) �โครงการสร้างสรรระบบหรือกิจกรรมการให้บริการ(Special initiatives) (32) �โครงการสำรวจสภาวะสุขภาพในชุมชน(Community health survey) (33) �นวัตกรรมด้านการแพทย์และสาธารณสุข�(Innovation for medical & public health) |
4 |
ภาระงานและการศึกษาต่อเนื่องเพื่อให้ได้มาซึ่ง วุฒิบัตร หนังสืออนุมัติ� แพทย์เฉพาะทางสาขา ต่าง ๆปริญญาหรืออนุปริญญาตลอดจนประกาศนียบัตรต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพแพทย์ |
(34) �การดูแลรักษาผู้ป่วยตามหน้าที่ปกติทางเวชกรรม{ ไม่รวมหน้าที่ทางเวชกรรมใน �(35) , (36) �} |
การแบ่งประเภทของกิจกรรมการศึกษาต่อเนื่องของศูนย์การศึกษาต่อเนื่องของแพทย์ (ฉบับปรับปรุง)